JIRANART RONGCHOUNG
Faculty of Agro-Industry
Rajamangala University of technology Srivijaya, Nakhon Si Thammarat Campus
133 Moo 5, Thung Yai, Thung Yai, Nakhon Si Thammarat, Thailand 80240 Tel. 086 4782887, Fax 075 489625-6.
Photo Album
การศึกษา : Education
ปริญญาตรี คศ.บ สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขต ภาคใต้ ( สงขลา )
ปริญญาโท วท.ม สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัด และ บริการอาหาร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
สาขาที่เชี่ยวชาญ : Exprience
อาหารและโภชนาการ
เทคโนโลยีการจัด และ บริการอาหาร
การจัดการอาหารและบริการ
ประสบการณ์การสอน : Teaching Exprience
วิทยาลัยการโรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง เริ่ม 2556 - 2564 ตำแหน่ง อาจารย์ผู้สอน
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช พื้นที่ทุ่งใหญ่ เริ่ม 2564 - ปัจจุบัน ตำแหน่งอาจารย์ประจำหลักสูตรการจัดการอาหารและบริการ
งานวิจัยที่สนใจ : Search Interests
อาหารและโภชนาการ
เทคโนโลยีการจัด และ บริการอาหาร
เทคโนโลยีอาหาร
การท่องเที่ยวเชิงอาหาร
อาหารเพื่อการท่องเที่ยว
การบริการอาหาร
ผลงานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์ : Research or Innovation
หัวหน้าโครงการวิจัย:
1) โครงการวิจัยพฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มีต่อการบริโภคอาหารท้องถิ่นในเขต อำเภอเมือง จังหวัดตรัง ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินงบประมาณรายได้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ปีงบประมาณ 2560 ระยะเวลาที่ใช้ในโครงการ 1 ปี
2) โครงการวิจัยเอกลักษณ์และรูปแบบธุรกิจร้านอาหารท้องถิ่น กรณีศึกษา ร้านขนมจีนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินงบประมาณรายได้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 2561 ระยะเวลาที่ใช้ในโครงการ 1 ปี
3) โครงการวิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการของจังหวัดตรังเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืน ในหัวข้อโครงการวิจัยเรื่อง “ศักยภาพอาหารพื้นเมืองและการส่งเสริมอาหารวิถีชุมชนผ่านการท่องเที่ยว (พื้นที่ศึกษาทุกอำเภอ ในจังหวัดตรัง) ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินแผ่นดิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ววน.) ระยะเวลาที่ใช้ในโครงการ 1 ปี
ผู้ร่วมโครงการวิจัย:
1) โครงการวิจัยการประเมินผลการรับรู้ของนักท่องเที่ยวมุสลิมต่อการจัดการคุณภาพการให้บริการการท่องเที่ยวแบบฮาลาล ในจังหวัดกระบี่ และภูเก็ต ประเทศไทย ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินงบประมาณแผ่นดิน 2559มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ระยะเวลาที่ใช้ในโครงการ 1 ปี
2) โครงการวิจัยปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเช้าในรูปแบบวัฒนธรรมเปอรานากันในจังหวัดตรัง และอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินงบประมาณแผ่นดิน 2560 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ระยะเวลาที่ใช้ในโครงการ 1 ปี
3) โครงการวิจัยการบริหารต้นทุนสมัยใหม่กับความเชื่อถือได้ของข้อมูลทางการบัญชีของธุรกิจอาหารจีนท้องถิ่นเมืองตรัง. ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินงบประมาณแผ่นดิน 2561 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ระยะเวลาที่ใช้ในโครงการ 1 ปี
4) โครงการวิจัยการพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน ชุมชนนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรังทุนอุดหนุนการวิจัยเงินงบประมาณรายได้ 2562 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ระยะเวลาที่ใช้ในโครงการ 1 ปี
5) โครงการวิจัยการพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อส่งเสริมคุณภาพการบริการของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะมุก ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินแผ่นดิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (ววน.) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ระยะเวลาที่ใช้ในโครงการ 1 ปี
6) โครงการวิจัยการสร้างเครือข่ายการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนชายฝั่งในเส้นทางท่องเที่ยวบริเวณรอบอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง ทุนอุดหนุนการวิจัยเงินแผ่นดิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (ววน.) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ระยะเวลาที่ใช้ในโครงการ 1 ปี
7) โครงการวิจัยการการพัฒนาระบบสารสนเทศทางการบัญชีและการจัดการต้นทุนของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเพื่อเสริมสร้างความยั่งยืนทุนอุดหนุนการวิจัยเงินแผ่นดิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (ววน.) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระยะเวลาที่ใช้ในโครงการ 1 ปี
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่แล้ว:
งานประชุมวิชาการ (ระดับชาติ):
จิระนาถ รุ่งช่วงและนภัสรพี เหลืองสกุล (2555). ผลของแป้งปราศจากกลูเตนบางชนิดต่อคุณภาพของคุกกี้ปราศจากกลูเตน, การประชุมวิชาการอุตสาหกรรมเกษตร สจล. ครั้งที่ 1,โรงแรมดิเอมเมอรัลด์ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ.
ธนินทร์ สังขดวง และจิระนาถ รุ่งช่วง (2559). ความเป็นไปได้ในการปรับใช้วัฒนธรรมการรับประทาน อาหารท้องถิ่นภาคใต้ร่วมกับศิลปะการแสดงเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 5, 124-135.
ธนินทร์ สังขดวง และจิระนาถ รุ่งช่วง. (2559). ความเป็นไปได้ในการปรับใช้วัฒนธรรมการรับประทานอาหารท้องถิ่นภาคใต้ร่วมกับศิลปะการแสดงเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม, น. 124-135.ในการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สำนักงานใหญ่บริษัทการบินไทยจำกัด (มหาชน) กรุงเทพฯ.
จิระนาถ รุ่งช่วง และธรรมจักร เล็กบรรจง. (2560). ความเป็นไปได้ในการพัฒนาการสอนทำอาหารในชุมชนท้องถิ่นปักษ์ใต้เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอาหารไทยสู่อาเซียน. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 3 และระดับนานาชาติครั้งที่ 4 The 3rd National and 4th International Conference Environmental Friendly Tourism for Sustainable Development” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 12-13 มกราคม 2560.
จิระนาถ รุ่งช่วง และจันทิวรรณ สมาธิ. (2561). พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มีต่อการบริโภคอาหารท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตรัง. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน ครั้งที่ 1 วิทยาลัยการโรงแรมและการท่องเที่ยว, 101-112.
ศิววงศ์ เพชรจุล และจิระนาถ รุ่งช่วง (2562).การบริหารต้นทุนสมัยใหม่กับความเชื่อถือได้ของข้อมูลทางการบัญชีของธุรกิจอาหารจีนท้องถิ่นเมืองตรัง. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาการจัดการสัมพันธ์ ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี
ธรรมจักร เล็กบรรจง, วันวิสาข์ พลอย อินสว่าง และจิระนาถ รุ่งช่วง. (2563). ศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพการรองรับของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนนาหมื่นศรี. การประชุมวิชาการท่องเที่ยวระดับชาติ ครั้งที่ 6“การท่องเที่ยววิถีปกติใหม่ (New Normal) สู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก” มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 912 - 923.
ธรรมจักร เล็กบรรจง, จิระนาถ รุ่งช่วง, อมรรัตน์ สุทธิธรรมานนท์ และ จันทิวรรณ สมาธิ. (2564). แนวทางการพัฒนาเครือข่ายการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนชายฝั่งบริเวณรอบอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง. ประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 7รูปแบบออนไลน์“สู่วิจัยรับใช้สังคมสืบสานล้านนาเพิ่มมูลค่าด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 247 - 256.
สุธีรา ปานแก้ว, สิริปุณยากร ไกรเทพ และ จิระนาถ รุ่งช่วง.(2564)
การพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อส่งเสริมคุณภาพบริการของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะมุกจังหวัดตรัง.การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 การวิจัยสร้างดุลยภาพชีวิตเพื่อรองรับ New Normal Life Balance in the New Normal มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 2386 - 2393.
ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (ระดับชาติ):
ธนินทร์ สังขดวง และ จิระนาถ รุ่งช่วง (2560). การรับรู้ระดับการให้บริการของนักท่องเที่ยวมุสลิมต่อการจัดการการท่องเที่ยวแบบฮาลาล ในจังหวัดกระบี่และภูเก็ต . วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 13(1), 135-168.
ธนินทร์ สังขดวง และจิระนาถ รุ่งช่วง.(2562). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารเช้าท้องถิ่นทีสืบทอดจากวัฒนธรรมเปอรานากันของนักท่องเที่ยวในจังหวัดตรัง. วารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 4(1), 81-92.
จิระนาถ รุ่งช่วง, ธรรมจักร เล็กบรรจง และธนินทร์ สังขดวง. (2563). ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อร้านขนมจีน ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, 9(1), 9-19.
ธรรมจักร เล็กบรรจง, วันวิสาข์ พลอย อินสว่าง และ จิระนาถ รุ่งช่วง. (2565). การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนของชุมชนนาหมื่นศรี อําเภอนาโยง จังหวัดตรัง” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 81-110.
ตำรา หนังสือ : Text book
-
ประสบการณ์การทำงาน : Work Experience
ประสบการณ์สอน
วิชาการบริการอาหารและเครื่องดื่มเพื่อการท่องเที่ยว
วิชาวิถีการบริโภคเพื่อการท่องเที่ยว
วิชาการมีส่วนร่วมของสาธารณชนและโรงแรมในการจัดการสิ่งแวดล้อม
วิชาสัมนาการโรงแรมและการท่องเที่ยว
วิชาศิลปะการออกแบบการจัดอาหารและสถานที่
วิชาเทคนิคการนำเสนออาหาร
วิชาวิทยาการขนมอบ
วิชาการบริการอาหารและเครื่องดื่ม
สถานที่ทำงาน Company
บ. SC โชคูฮิน จำกัด (สงขลา) เริ่ม 2546- 2547 ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์
บ. ซีพีแรม จำกัด เริ่ม 2548- 2556 ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์
วิทยาลัยการโรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง เริ่ม 2556- 2564 ตำแหน่ง อาจารย์ผู้สอน
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เริ่ม 2564- ปัจจุบัน ตำแหน่ง อาจารย์ผู้สอน